{"items":["5f93c075094aaf00177c6a82","5f93b0d9b994f7001770c2d6","5f93b0d9b994f7001770c2d5"],"styles":{"galleryType":"Columns","groupSize":1,"showArrows":true,"cubeImages":true,"cubeType":"max","cubeRatio":1.7777777777777777,"isVertical":true,"gallerySize":30,"collageAmount":0,"collageDensity":0,"groupTypes":"1","oneRow":false,"imageMargin":5,"galleryMargin":0,"scatter":0,"rotatingScatter":"","chooseBestGroup":true,"smartCrop":false,"hasThumbnails":false,"enableScroll":true,"isGrid":true,"isSlider":false,"isColumns":false,"isSlideshow":false,"cropOnlyFill":false,"fixedColumns":0,"enableInfiniteScroll":true,"isRTL":false,"minItemSize":50,"rotatingGroupTypes":"","rotatingCropRatios":"","columnWidths":"","gallerySliderImageRatio":1.7777777777777777,"numberOfImagesPerRow":3,"numberOfImagesPerCol":1,"groupsPerStrip":0,"borderRadius":0,"boxShadow":0,"gridStyle":0,"mobilePanorama":false,"placeGroupsLtr":true,"viewMode":"preview","thumbnailSpacings":4,"galleryThumbnailsAlignment":"bottom","isMasonry":false,"isAutoSlideshow":false,"slideshowLoop":false,"autoSlideshowInterval":4,"bottomInfoHeight":0,"titlePlacement":["SHOW_ON_THE_RIGHT","SHOW_BELOW"],"galleryTextAlign":"center","scrollSnap":false,"itemClick":"nothing","fullscreen":true,"videoPlay":"hover","scrollAnimation":"NO_EFFECT","slideAnimation":"SCROLL","scrollDirection":0,"scrollDuration":400,"overlayAnimation":"FADE_IN","arrowsPosition":0,"arrowsSize":23,"watermarkOpacity":40,"watermarkSize":40,"useWatermark":true,"watermarkDock":{"top":"auto","left":"auto","right":0,"bottom":0,"transform":"translate3d(0,0,0)"},"loadMoreAmount":"all","defaultShowInfoExpand":1,"allowLinkExpand":true,"expandInfoPosition":0,"allowFullscreenExpand":true,"fullscreenLoop":false,"galleryAlignExpand":"left","addToCartBorderWidth":1,"addToCartButtonText":"","slideshowInfoSize":200,"playButtonForAutoSlideShow":false,"allowSlideshowCounter":false,"hoveringBehaviour":"NEVER_SHOW","thumbnailSize":120,"magicLayoutSeed":1,"imageHoverAnimation":"NO_EFFECT","imagePlacementAnimation":"NO_EFFECT","calculateTextBoxWidthMode":"PERCENT","textBoxHeight":26,"textBoxWidth":200,"textBoxWidthPercent":65,"textImageSpace":10,"textBoxBorderRadius":0,"textBoxBorderWidth":0,"loadMoreButtonText":"","loadMoreButtonBorderWidth":1,"loadMoreButtonBorderRadius":0,"imageInfoType":"ATTACHED_BACKGROUND","itemBorderWidth":0,"itemBorderRadius":0,"itemEnableShadow":false,"itemShadowBlur":20,"itemShadowDirection":135,"itemShadowSize":10,"imageLoadingMode":"BLUR","expandAnimation":"NO_EFFECT","imageQuality":90,"usmToggle":false,"usm_a":0,"usm_r":0,"usm_t":0,"videoSound":false,"videoSpeed":"1","videoLoop":true,"jsonStyleParams":"","gallerySizeType":"px","gallerySizePx":1000,"allowTitle":true,"allowContextMenu":true,"textsHorizontalPadding":-30,"itemBorderColor":{"themeName":"color_12","value":"rgba(204,204,204,0)"},"showVideoPlayButton":true,"galleryLayout":2,"calculateTextBoxHeightMode":"MANUAL","targetItemSize":1000,"selectedLayout":"2|bottom|1|max|true|0|true","layoutsVersion":2,"selectedLayoutV2":2,"isSlideshowFont":true,"externalInfoHeight":26,"externalInfoWidth":0.65},"container":{"width":300,"galleryWidth":305,"galleryHeight":0,"scrollBase":0,"height":null}}
Sacroiliac Joint (SIJ) สาเหตุหนึ่งที่ทำให้ปวดหลัง
Socroiliac Joint (SIJ) ข้อต่อที่ไม่ควรถูกละเลยเมื่อปวดหลัง
ในงานวิจัยพบว่าคนที่มีอาการปวดหลัง จะมีสาเหตุมาจาก SIJ หรือกระดูกเชิงกราน 15-30% เลยที่เดียว และพบกว่าคนที่ผ่าตัดข้อหลังไปแล้ว จะมีปัญหาปวดที่มาจาก SIJ เพิ่มขึ้นถึง 43%

ลักษณะอาการปวดจากข้อต่อเชิงกราน
>>การปวดหลังส่วนล่าง ไปยังสะโพกหรือร้าวไปที่ขาข้างใดข้างหนึ่ง
>>บริเวณเชิงกรานจะมีอาการปวดเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดเมื่อมีแรงกดบริเวณนั้น
>>อาการปวดเพิ่มขึ้น เช่นนั่งเก้าอี้ ระหว่างลุกขึ้นจากเก้าอี้ หรือเดินขึ้นลงบันได
สาเหตุที่ทำให้ปวดบริเวณนี้ เนื่องจากกระดูกเชิงกรานที่ต่อกับกระดูกสันหลังบริเวณกระเบนเหน็บ มีหน้าออกแรงรับน้ำหนักจากขาขึ้นมาสู่สะโพกและหลัง และบริเวณนี้ยังเป็นจุดเกาะของกล้ามเนื้อที่สร้างความแข็งแรงให้กับหลังของเราด้วย ยิ่งไปกว่านั้นในผู้หญิงที่เคยคลอดลูกมาก่อนส่วนบริเวณนี้ก็จะขยายตัว ทำให้ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและเอ็นรอบๆข้อต่อลดลง
การรักษาทางกายภาพบำบัดสามารถทำได้ดังนี้
ปรับปรุงโครงสร้างการเคลื่อนไหวของข้อต่อบริเวณนี้ จากการตรวจร่างกายที่ได้ ว่าข้อต่อมีความแข็งแรง หรือมีการเคลื่อนไหวที่ไม่สมดุลอย่างไรบ้าง เพื่อทำให้อาการปวดลดลงก่อน การลดการอักเสบของกล้ามเนื้อและเส้นประสาทที่ได้รับผลกระทบจากการใช้เครื่องมือทางกายภาพ และเพิ่มความแข็งแรงโดยการให้ Specific Exercise ที่เหมาะสมแต่ละบุคคลต่อไป